Author: Petros Rigas

Managing Project FOOD: Biggest Undertaking of your Life

Lecture DetailsSpeaker ProfileRegister HereLecture Details This presentation speaks to FOOD and DRINK essential to our lives, and some of the realities facing each of us in attempting to live a healthy life. WHAT INFORMATION DO WE NEED, AND how might we apply our already understood project management principles and procedures to doing so? Despite huge [...] Read More

Learn to be a good project manager

โดย Athrym Ong Introduction Apart from obtaining academic qualification, it is essential to a project manager to acquire and develop different skill sets in securing the success of a project. These skills could be grouped as management skills, people skills, leadership skills and of course, the subject matter related skills which are fundamental to a […]

Read More

Keeping Pace with the Growth of Project Management

By Sam Finch In recent years I have witnessed widespread growth and application of project management in sectors that are not traditionally associated with its use. As a result of this, the profession itself and those calling themselves project managers is increasingly becoming harder to define. In the case of Thailand, as project management continues […]

Read More

การสร้างนิสัยให้รู้จักการให้เพื่อช่วยเหลือส่วนรวม

โดย Dave Wakeman ระยะหลังๆ บทความส่วนมากของผมได้กล่าวถึง ภาวะผู้นำในการบริหารโครงการ ซึ่งผมคิดว่าเรื่องที่ควรเน้นย้ำเป็oพิเศษสำหรับผู้จัดการโครงการ คือ การสร้างนิสัยให้รู้จักการให้เพื่อช่วยเหลือส่วนรวม โดยให้เกิดกับคณะทำงานทุกคน เพื่อนำโครงการสู่ความสำเร็จตามวัตถูประสงค์และเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ ดังนั้น ผมจึงอยากแนะนำ 3 แนวทางที่ผู้จัดการโครงการสามารถนำมาใช้ เพื่อช่วยทีมงานในการก่อสร้างนิสัยให้รู้จักการให้เพื่อส่วนรวมอย่างถูกต้อง ทำความรู้จักกับคณะทำงาน: การบริหารจัดการโครงการไม่ใช่การออกคำสั่ง และรอรับผลการปฏิบัติงานจากคณะทำงานเพียงเพื่อเขียนรายงานส่งผู้สนับสนุนโครงการเท่านั้น แต่การบริหารจัดการโครงการที่ดีจะต้องช่วยทีมงานให้รู้จักการให้เพื่อช่วยเหลือส่วนรวมด้วย ผู้จัดการโครงการควรใช้เวลาในการสอบถามคณะทำงานเพื่อให้เกิดความเข้าใจในสิ่งที่คณะทำงานต้องการ ผู้จัดการโครงการสามารถให้โอกาสคณะทำงานในการมีส่วนร่วมวางแผนงานและวิเคราห์กระบวนการทำงานเพื่อการลดขั้นตอนการทำงาน และเพื่อให้คณะทำงานสามารถส่งมอบงานได้ก่อนกำหนด การให้ความสนับสนุนให้คณะทำงานได้มีส่วนร่วมในการวางแผนงานจะช่วยสร้างความเข้าใจและนิสัยให้รู้จักการให้ตอบแทนเพื่อช่วยเหลือส่วนรวมให้แก่คณะทำงานได้โดยสมัครใจ เพราะคณะทำงานจะมีความภาคภูมิใจในตัวเองเมื่อได้มีส่วนร่วมในลัษณะงานที่มีก้าวหน้ากว่างานของตนเอง อีกทั้งยังเป็นการสร้างแรงจูงใจในการพัฒนาอาชีพให้กับคณะทำงานอีกด้วย ตัวอย่างเช่น เมื่อผู้จัดการโครงการได้ทราบว่าหนึ่งในคณะทำงานที่ได้ร่วมงานกันในหลายโครงการ มีเป้าหมายเพื่อจะเป็น PMO ผู้จัดการโครงการควรสนับสนุนให้เขาได้มีส่วนร่วมในการกำหนดตารางงานและบริหารทรัพยากร ในส่วนงานที่เขาถนัด แสดงความคิดเห็นร่วมกันเพื่อนำไปสู่การตัดสินใจ: การตัดสินใจของผู้จัดการโครงการต้องทำบนพื้นฐานของข้อมูลที่สามารถเข้าถึงได้ ซึ่งบางครั้งข้อมูลที่เข้าถึงได้อาจไม่เพียงพอ หรือคณะทำงานอาจไม่ได้นำมาแจ้งให้ผู้จัดการโครงการทราบทั้งหมด จึงส่งผลได้การตัดสินใจเป็นไปได้อย่างจำกัด ผู้จัดการโครงการควรสนับสนุนเปิดโอกาสให้คณะทำงานได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นตามช่วงระยะเวลาอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งการแสดงความคิดเห็นนั้นอาจเป็นเรื่องสำคัญ หรือไม่ใช่เรื่องสำคัญก็ได้ ผู้จัดการโครงการสามารถพูดคุยกับคณะทำงานทุกวัน หรือจัดการประชุมอย่างไม่เป็นทางการทุกอาทิตย์เพื่อสอบถามความคืบหน้าของงานปัจจุบัน พร้อมทั้งร่วมกันวางแผนงานสำหรับอนาคต การแสดงความคิดเห็นร่วมกันสามารถทำได้ไม่จำกัดจำนวนครั้ง แต่ผู้จัดการโครงการต้องดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้คณะทำงานแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความรู้เฉพาะที่เขามีออกมาให้มา เพื่อสามารถนำมาเป็นข้อมูลในการประกอบการตัดสินใจที่ดีที่สุดได้ มีความรับผิดชอบ: การทำความรู้จักคณะทำงาน, กาสร้างแรงจูงใจในการพัฒนาอาชีพ, และการสนับสนุนให้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น จะไม่สามารถปลูกสร้างนิสัยของการให้เพื่อส่วนรวมให้กับทีมงานได้ ถ้าหากผู้จัดการโครงการขาดความรับผิดชอบ ผู้จัดการโครงการต้องแสดงความรับผิดชอบต่อโครงการมากกว่าเพียงแค่รับรู้หน้าที่ของคณะทำงาน ผู้จัดการโครงการต้องมีความรับผิดชอบต่อการกระจายงานให้คณะทำงาน, มีความรับผิดชอบในการติดตามผลงานจากคณะทำงาน, […]

Read More

การักษาหลักการบริหารจัดการโครงการให้ทันสมัยอยู่เสมอ

โดย Sam Finch ในช่วงหลายปีหลังที่ผ่านมานี้ ผมพบว่าได้มีการนำหลักการบริหารจัดการโครงการไปใช้อย่างแพร่หลายในหลายส่วนงาน ซึ่งเป็นส่วนงานที่ไม่เคยมีความเกี่ยวข้องกับงานด้านการบริหารจัดการโครงการมาก่อน ส่งผลให้จำนวนผู้จัดการโครงการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และการให้คำจำกัดความก็ยากขึ้นเช่นกัน สำหรับประเทศไทย หลักการบริหารจัดการโครงการได้ถูกนำไปใช้งานอย่างแพร่หลายและต่อเนื่อง องค์กรที่มีการนำหลักการไปใช้งานควรยึดหลักการตั้งต้น และต้องเปิดรับทฤษฎีใหม่ใหม่ เพื่อเพิ่มความสามารถในการบริหารจัดการโครงการสมัยใหม่ได้อย่างเหมาะสม การเพิ่มขึ้นของทฤษฎีใหม่ ทำให้เกิดการโต้แย้งในเนื้อหาของหลักการบริหารจัดการโครงการ ว่าควรมีการคิดทบทวนใหม่หรือไม่ เพราะบางทฤษฎีที่เหมาะสมอาจถูกมองข้ามไป อย่างไรก็ตามการเกิดขึ้นของทฤษฎีใหม่ยังไม่ถูกพัฒนาในหลักการเพื่อให้เกิดความเท่าทันกับการนำไปใช้งาน จึงส่งผลให้ผู้จัดการโครงการในปัจจุบันยังไม่มีความรู้เพียงพอ ไม่ได้รับการฝึกหัด และขาดความสามารถในการเตรียมพร้อมสำหรับการบริหารจัดการโครงการในอนาคต ทั้งนี้ทั้งนั้นองค์กรยังคงมีทางเลือกในการเชื่อมต่อและลดช่องว่างระหว่างหลักการตั้งต้นและทฤษฎีใหม่ Berggren & Soderlund (2008 pp. 291) ได้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่ไว้ในงานเขียนเรื่อง Social Twist ซึ่งเป็นการนำเสนอแนวทางการเรียนรู้เกี่ยวกับทฤษฎีใหม่ โดยการนำเอาทฤษฎีตั้งต้นมาคิดทบทวนใหม่ผ่านกระบวนการของการบริหารจัดการโครงการเพื่อเพิ่มศักยะภาพให้กับทฤษฎีนั้น Social Twist แบ่งออกเป็น 6 แนวทางสำหรับการนำไปประยุกต์ใช้ภายในแต่ละองค์กร ได้แก่ แนวทาง เนื้อหาโดยสรุป รายงานสะท้อนผลการทำงานที่ผ่านมา การสรุปบทเรียนที่ได้รับจากโครงการที่ผ่านมา โดยการอธิบายให้เข้าใจอย่างง่ายๆ ว่าเกิดอะไรขึ้นระหว่างการบริหารจัดการโครงการ อธิบายต้นเหตุที่ทำให้โครงการไม่เป็นไปตามแผนงาน เพื่อนำไปทำรายงานสะท้อนผลการทำงาน การสรุปบทเรียนควรทำที่ระดับบุคคลและระดับภาพรวมขององค์กร ตั้งเป้าหมายทีได้รับจากการเรียนรู้ การตั้งเป้าหมายเพื่อให้แต่ละบุคคลนำสิ่งที่ได้จากการสรุปบทเรียนที่ได้รับจากโครงการที่ผ่านมาไปพัฒนาตามที่ได้ตกลงร่วมกัน ทดสอบความรู้ในกลุ่ม การทดสอบความรู้ โดยการจัดกลุ่มให้แต่ละบุคคลได้อธิบายสรุปบทเรียนที่ได้รับจากโครงการที่ผ่านมา เรียนรู้จากเหตุการณ์ปัจจุบัน การแบ่งปันเหตุการณ์ในการบริหารจัดการโครงการปัจจุบันที่แต่ละบุคคลให้กับกลุ่มได้รับรู้ […]

Read More

Keeping Pace With the Growth of Project Management

By Sam Finch In recent years I have witnessed widespread growth and application of project management in sectors that are not traditionally associated with its use. As a result of this, the profession itself and those calling themselves project managers is increasingly becoming harder to define. In the case of Thailand, as project management continues […]

Read More

Creating a Culture of Contribution

by Dave Wakeman, PMP I’ve written a lot lately about leadership in project management and one area that I think needs special emphasis is how we can create a culture of contribution in our project teams. This culture of contribution is important because our projects don’t happen in vacuums and as project managers, we depend on [...] Read More

Learn to be a Good Project Manager

by Athrym Ong, PMP Introduction Apart from obtaining academic qualification, it is essential to a project manager to acquire and develop different skill sets in securing the success of a project. These skills could be grouped as management skills, people skills, leadership skills and of course, the subject matter related skills which are fundamental to […]

Read More

การรักษาหลักการบริหารจัดการโครงการให้ทันสมัยอยู่เสมอ

โดย Sam Finch ในช่วงหลายปีหลังที่ผ่านมานี้ ผมพบว่าได้มีการนำหลักการบริหารจัดการโครงการไปใช้อย่างแพร่หลายในหลายส่วนงาน ซึ่งเป็นส่วนงานที่ไม่เคยมีความเกี่ยวข้องกับงานด้านการบริหารจัดการโครงการมาก่อน ส่งผลให้จำนวนผู้จัดการโครงการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และการให้คำจำกัดความก็ยากขึ้นเช่นกัน สำหรับประเทศไทย หลักการบริหารจัดการโครงการได้ถูกนำไปใช้งานอย่างแพร่หลายและต่อเนื่อง องค์กรที่มีการนำหลักการไปใช้งานควรยึดหลักการตั้งต้น และต้องเปิดรับทฤษฎีใหม่ใหม่ เพื่อเพิ่มความสามารถในการบริหารจัดการโครงการสมัยใหม่ได้อย่างเหมาะสม การเพิ่มขึ้นของทฤษฎีใหม่ ทำให้เกิดการโต้แย้งในเนื้อหาของหลักการบริหารจัดการโครงการ ว่าควรมีการคิดทบทวนใหม่หรือไม่ เพราะบางทฤษฎีที่เหมาะสมอาจถูกมองข้ามไป อย่างไรก็ตามการเกิดขึ้นของทฤษฎีใหม่ยังไม่ถูกพัฒนาในหลักการเพื่อให้เกิดความเท่าทันกับการนำไปใช้งาน จึงส่งผลให้ผู้จัดการโครงการในปัจจุบันยังไม่มีความรู้เพียงพอ ไม่ได้รับการฝึกหัด และขาดความสามารถในการเตรียมพร้อมสำหรับการบริหารจัดการโครงการในอนาคต ทั้งนี้ทั้งนั้นองค์กรยังคงมีทางเลือกในการเชื่อมต่อและลดช่องว่างระหว่างหลักการตั้งต้นและทฤษฎีใหม่ Berggren & Soderlund (2008 pp. 291)ได้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่ไว้ในงานเขียนเรื่อง Social Twist ซึ่งเป็นการนำเสนอแนวทางการเรียนรู้เกี่ยวกับทฤษฎีใหม่ โดยการนำเอาทฤษฎีตั้งต้นมาคิดทบทวนใหม่ผ่านกระบวนการของการบริหารจัดการโครงการเพื่อเพิ่มศักยะภาพให้กับทฤษฎีนั้น Social Twist แบ่งออกเป็น 6 แนวทางสำหรับการนำไปประยุกต์ใช้ภายในแต่ละองค์กร ได้แก่ แนวทาง เนื้อหาโดยสรุป   รายงานสะท้อนผลการทำงานที่ผ่านมา การสรุปบทเรียนที่ได้รับจากโครงการที่ผ่านมา โดยการอธิบายให้เข้าใจอย่างง่ายๆ ว่าเกิดอะไรขึ้นระหว่างการบริหารจัดการโครงการ อธิบายต้นเหตุที่ทำให้โครงการไม่เป็นไปตามแผนงาน เพื่อนำไปทำรายงานสะท้อนผลการทำงาน การสรุปบทเรียนควรทำที่ระดับบุคคลและระดับภาพรวมขององค์กร   ตั้งเป้าหมายทีได้รับจากการเรียนรู้ การตั้งเป้าหมายเพื่อให้แต่ละบุคคลนำสิ่งที่ได้จากการสรุปบทเรียนที่ได้รับจากโครงการที่ผ่านมาไปพัฒนาตามที่ได้ตกลงร่วมกัน   ทดสอบความรู้ในกลุ่ม การทดสอบความรู้ โดยการจัดกลุ่มให้แต่ละบุคคลได้อธิบายสรุปบทเรียนที่ได้รับจากโครงการที่ผ่านมา […]

Read More

Latest on the Strategy Execution Framework

I am excited to share a real case story about how Klaus Welle, the Secretary General of the European Parliament, used the Strategy Execution Framework from my book, Executing Your Strategy, to plan and organize the EP strategy. He stated the benefit of the SEF very well, “This is a way to reflect about the […]

Read More
X